ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
ชื่อย่อภาษาไทย : ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Master of Education (Educational Administration)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : M.Ed. (Educational Administration)
รู้จักหลักสูตร
หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรปริญญาโทที่รับผู้เข้าศึกษาที่มีคุณวุฒิปริญญาตรี ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการ จัดการเรียนการสอน และเป็นหลักสูตรที่รองรับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้ดี หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาให้เป็น“ผู้บริหารมืออาชีพ” ที่มีความรู้รอบและรู้ลึกในหลักการบริหารการศึกษา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และสามารถใช้ทักษะการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษา
จุดเด่นของหลักสูตร
1. สร้างคุณเป็นนักบริหารการศึกษา ที่พร้อมก้าวทันการเปลี่ยนแปลงทั้งทางเทคโนโลยีการบริหารจัดการและการปฏิรูปการศึกษา
2. สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษาโดยเรียนรู้ผ่าน Case Study
3. สร้างมืออาชีพด้วยมืออาชีพด้วยการเรียนกับผู้บริหาร จากองค์กรที่มีชื่อเสียง เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริงกับผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ
4. คณาจารย์พร้อมให้คำปรึกษา เพื่อให้จบตามระยะเวลา
5. มีกิจกรรมศึกษาดูงาน ทั้งใน และต่างประเทศ
6. เป็นสถานบันที่ได้รับการรับรองมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานการผลิต ปริญญาโททางการศึกษา
7. มีกิจกรรมศึกษาดูงาน ทั้งใน และต่างประเทศ
ตรวจสอบรายชื่อสถาบันที่คุรุสภารับรอง http://www.ksp.or.th/ksp2018/cert-stdksp/
ระยะเวลาในการศึกษา
ใช้เวลาในการศึกษา 1 ปี 4 เดือน โดยแบ่งเป็น 4 ภาคการศึกษา
ระยะเวลาในการศึกษา
ภาคเสาร์ – อาทิตย์ (เวลา 09.00 – 17.30 น.)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
กรณีต้องการใบประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
(แบ่งชำระ 4 ภาคการศึกษา) 42 หน่วยกิต
กรณีไม่ต้องการใบประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
(แบ่งชำระ 4 ภาคการศึกษา) 36 หน่วยกิต
คณาจารยมืออาชีพ
คณาจารย์วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุบิน ยุระรัช
- ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
- ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 (โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก), 2550
- ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 (โครงการคุรุทายาท), 2543
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย
- – อาจารย์สำนักงานรองอธิการบดี (ผศ.ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์)
- – รักษาการหัวหน้าสาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม คณะสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
- – อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- – อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
- – ปร.ด. (บริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557
- – บธ.ม. (พานิชย์อิเล็กทรอนิคส์), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2552
- – บธ.บ. (การจัดการ), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2549
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา
- คณบดีคณะศิลปศาสตร์
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
วุฒิการศึกษา :
- Ed.D. (Administrative & Policy Studies), University of Pittsburgh, U.S.A., 2000
- M.S. (Business Education), New Hampshire College, U.S.A., 1993
- ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) วิทยาลัยครูสวนสุนันทา, 2525
ดร.เชิดศักดิ์ ศรีสง่าชัย
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
- ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2554
- ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2532
- กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2525
ดร.นวรัตน์ แซ่โค้ว
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
- ปริญญาเอก : เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ปริญญาโท: เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี
- ปริญญาตรี: เทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยรังสิต
- ประกาศนียบัตร: Oracle SQL Certification, 2005 Oracle
ดร.สุภัทร พันธ์พัฒนกุล
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
- ปร.ด. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2555
- ร.ม. (การปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2537
- น.บ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2525
- กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2520
รองศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
- กศ.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี 2549
- ศษ.ม .(การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2538
- ศน.บ. (การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วข.เชียงใหม่ 2539
- ศน.บ. (การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วข.เชียงใหม่ 2539
- ศศ.บ.(การสอนคณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2524
ดร.สุพรรณี สมานญาติ
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
- กศ.ด. (การบริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2540
- ศศ.ม. (การสอนคณิตศาสตร์),มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2523
- กศ.บ. (คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ), วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน, 2513
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์
- ผู้อำนวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน
- รักษาการผู้อำนวยการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และการสอน คณะสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
- ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
- กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2543
- ค.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป), วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา, 2537
ดร.เสน่ห์ คำสมหมาย
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
- ค.ด. (การบริหารและจัดการการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2555
- กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2539
- น.บ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2530
- ค.บ. (เกษตรศาสตร์) วิทยาลัยครูมหาสารคาม 2524
ดร.วิรัช เจริญเชื้อ
- อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
- ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2552
- ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2538
- ค.บ. (พลศึกษา) วิทยาลัยครูเลย 2526
คณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
กลุ่มวิชา หลักการทฤษฎีและแนวปฎิบัติทางบริหารการศึกษา
- ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ นักวิชาการอิสระ
- ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ศาสตราจารย์ ดร.กนกอร สมปราชญ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- รองศาสตราจารย์ ชารี มณีศรี นักวิชาการอิสระ
- รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว นักวิชาการอิสระ
- รองศาสตราจารย์ ดร.วีระวัฒน์ อุทัยรัตน์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ดร.ดิเรถ พรสีมา คณบดีวิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
- รองศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- รองศาสตราจารย์ ดร.จิณวัตร ประโคทัง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ
- รองศาสตราจารย์ ดร.พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- รองศาสตราจารย์ ดร.สมเจตน์ ภูศรี นักวิชาการอิสระ
- รองศาสตราจารย์ ดร.พิกุล ภูมิโคกรักษ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
- รองศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์มาศ สุขสิก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี
- ดร.สุภชัย จันปุ่ม ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดนครปฐม
- ดร.สุรัตน์ ดวงชาทม อดีตผู้อำนวยการเขตพื้นที่ประถมศึกษา
- ดร.อนันต์ นามทองต้น อดีตผู้อำนวยการเขตพื้นที่ประถมศึกษา
- ดร.อารยันต์ แสงนิกุล ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1
กลุ่มวิชา วิจัย และพัฒนาการศึกษา
- รองศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต ชูกำแพง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี วงศ์สะพาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โกวัฒน์ เทศบุตร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ เอราวรรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา ปัญญา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- รองศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- อาจารย์ ดร.สุพรรณี สมานญาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
- รองศาสตราจารย์ ดร.สุบิน ยุระรัช มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
- อาจารย์ ดร.เสน่ห์ คำสมหมาย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- อาจารย์ ดร.วิรัช เจริญเชื้อ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ศรีสง่าชัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- อาจารย์ ดร.นวรัตน์ แซ่โค้ว มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- อาจารย์ ดร.สุภัทร พันธ์พัฒนกุล มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
ตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต กรณีต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา หรือไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต กรณีไม่ต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
แบ่งเป็น 2 แผน คือ
แผน ก แบบ ก 2
จำนวนหน่วยกิตรวม ตลอดหลักสูตร กรณีต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต หรือกรณีไม่ต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
แผน ข
จำนวนหน่วยกิตรวม ตลอดหลักสูตร กรณีต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต หรือกรณีไม่ต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
รายละเอียดในแต่ละแผนการศึกษา 42 หน่วยกิต กรณีต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา มีดังนี้
โครงสร้างหลักสูตร |
แผน ก แบบ ก 2 |
แผน ข |
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน | - |
- |
หมวดวิชาบังคับ | ไม่น้อยกว่า 24 |
ไม่น้อยกว่า 24 |
หมวดวิชาเลือก | 6 |
12 |
สารนิพนธ์ | - |
6 |
วิทยานิพนธ์ | 12 |
- |
รวม |
ไม่น้อยกว่า 42 | ไม่น้อยกว่า 42 |
หมายเหตุ: วิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีมติให้เรียนรายวิชาเสริมพื้นฐานเพิ่มเติมจะต้องลงทะเบียนเรียนและมีผลการเรียนไม่ต่ำกว่าระดับ S (Satisfactory)
รายละเอียดในแต่ละแผนการศึกษา 36 หน่วยกิต กรณีไม่ต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา มีดังนี้
โครงสร้างหลักสูตร |
แผน ก แบบ ก 2 |
แผน ข |
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน | - |
- |
หมวดวิชาบังคับ | ไม่น้อยกว่า 18 |
ไม่น้อยกว่า 18 |
หมวดวิชาเลือก | 6 |
12 |
สารนิพนธ์ | - |
6 |
วิทยานิพนธ์ | 12 |
- |
รวม |
ไม่น้อยกว่า 42 | ไม่น้อยกว่า 42 |
หมายเหตุ: วิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีมติให้เรียนรายวิชาเสริมพื้นฐานเพิ่มเติมจะต้องลงทะเบียนเรียนและมีผลการเรียนไม่ต่ำกว่าระดับ S (Satisfactory)
- รายวิชาที่เปิดสอน
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (Remedial Courses)
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EDA501 |
พื้นฐานทางการศึกษา (Educational Foundations) |
ไม่นับหน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ (Required Course) (24 หน่วยกิต) กรณีต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EDA510 |
หลักการบริหารการศึกษา และภาวะผู้นำทางการศึกษา (Principles of Educational Administration and Educational Leadership) |
3(3-0-9) |
EDA511 |
นโยบาย กลยุทธ์ และการวางแผนทางการศึกษา (Policies, Strategies and Educational Planning) |
3(3-0-9) |
EDA512 |
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Innovation and Information Management for Education) |
3 (90) |
EDA513 |
การประกันคุณภาพการศึกษา (Educational Quality Assurance) |
3 (3-0-9) |
EDA514 |
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารการศึกษา (Research Methodology in Educational Administration) |
3 (3-0-9) |
EDA515 |
สัมมนาทางการบริหารการศึกษา (Seminar in Educational Administration) |
3 (3-0-9) |
EDA516 |
การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา (Administration of Education Institutions and Education) |
3 (3-0-9) |
EDA517 |
การฝึกปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา (Practices in Administration of Education Institutions and Education) |
3 (3-0-9) |
หมวดวิชาบังคับ (Required Course) (18 หน่วยกิต) กรณีไม่ต้องการใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EDA510 |
หลักการบริหารการศึกษา และภาวะผู้นำทางการศึกษา (Principles of Educational Administration and Educational Leadership) |
3(3-0-9) |
EDA511 |
นโยบาย กลยุทธ์ และการวางแผนทางการศึกษา (Policies, Strategies and Educational Planning) |
3(3-0-9) |
EDA512 |
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Innovation and Information Management for Education) |
3 (90) |
EDA513 |
การประกันคุณภาพการศึกษา (Educational Quality Assurance) |
3 (3-0-9) |
EDA514 |
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารการศึกษา (Research Methodology in Educational Administration) |
3 (3-0-9) |
EDA515 |
สัมมนาทางการบริหารการศึกษา (Seminar in Educational Administration) |
3 (3-0-9) |
หมวดวิชาเลือก (Electives)
สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียน แผน ก2 ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต และสำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ข ให้เลือกเรียน 12 หน่วยกิต
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EDA530 |
องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) |
3(3-0-9) |
EDA531 |
การพัฒนาองค์การและการจัดการ (Organization Development and Management) |
3(3-0-9) |
EDA532 |
จิตวิทยาการบริหาร (Psychology Management) |
3(3-0-9) |
EDA533 |
บริบทและแนวโน้มการบริหารการศึกษา (Contexts and Trends in Educational Administration) |
3(3-0-9) |
EDA535 |
การบริหารและประเมินโครงการ (Project Management and Evaluation) |
3(3-0-9) |
EDA537 |
เทคนิคการสอนในยุคดิจิทัล (Teaching Technique in Digital Age) |
3(3-0-9) |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EAD691 |
การสอบประมวลความรู้ข้อเขียน (Written Comprehensive Examination) |
ไม่นับหน่วยกิต |
EAD692 |
การสอบประมวลความรู้ปากเปล่า (Oral Comprehensive Examination) |
ไม่นับหน่วยกิต |
EDA698 |
สารนิพนธ์ (Thematic Paper) |
6 หน่วยกิต |
EDA699 |
วิทยานิพนธ์ (Thesis) |
12 หน่วยกิต |
- แผนการศึกษา (42 หน่วยกิต กรณีต้องการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ)
แผน ก แบบ ก2 |
แบบ ข |
||
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
วิชาเสริมพื้นฐาน |
ไม่นับหน่วยกิต |
วิชาเสริมพื้นฐาน |
ไม่นับหน่วยกิต |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
3(3-0-9) |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
- แผนการศึกษา (36 หน่วยกิต กรณีไม่ต้องการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ)
แผน ก แบบ ก2 |
แบบ ข |
||
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
วิชาเสริมพื้นฐาน |
ไม่นับหน่วยกิต |
วิชาเสริมพื้นฐาน |
ไม่นับหน่วยกิต |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
3(3-0-9) |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
จบที่นี่มีงานทำ
1. ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารทางการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา
2. นักบริหาร (หน่วยงานภาครัฐและเอกชน)
3. นักวิชาการด้านการบริหารการศึกษา
4. นักวิจัยด้านการบริหารการศึกษา
5. อาจารย์โรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย
หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาให้เป็น “ผู้บริหารมืออาชีพ” ที่มีความรู้รอบและรู้ลึกในหลักการบริหารการศึกษา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และสามารถใช้ทักษะการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษา มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา นักวิชาการบริหารการศึกษา และนักวิจัยที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
1. มีความเป็นผู้นำ และมีความรู้ในหลักการบริหารการศึกษาที่สอดคล้องกับกรอบของการปฏิรูปการบริหารศึกษาในปัจจุบัน ตลอดจนมีประสบการณ์ในการนำความรู้ด้านการบริหารการศึกษาไปปรับใช้ในการทำงาน
2. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีทักษะในการจัดการความรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ในเชิงลึกในระดับประเทศและนานาชาติ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือช่วยบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด
3. มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ในการบริหารจัดการการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
4. มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพผู้บริหาร และสามารถใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการจนทำให้องค์กรมีผลดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน
5. มีความรู้และทักษะในการทำวิจัยในหัวข้อเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา การสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมทางด้านการบริหารการศึกษา ตลอดจนสามารถนำผลการวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
ภาพกิจรรม
1.กิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่
2.กิจกรรมบริหารการศึกษาสัมพันธ์
3.ฝึกประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
วิธีสมัครเรียน
1.สมัครออนไลน์ http://www.khonkaen.spu.ac.th/spu.register/
2. สมัครด้วยตนเอง โดยเดินทางเข้ามาติดต่อที่มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
ศูนย์รับสมัครนักศึกษา
1.มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น 182/12 หมู่ 4 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 หรือ โทร.082-3010801 , 043-224111
2. LINE@ : @gradspukk
3. Facebook : โท-เอก มหาวิทยาลัยศรีปทุม ขอนแก่น